บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มีนาคม, 2020

นาฏยศัพท์ทางนาฏศิลป์ไทย

รูปภาพ
นาฏยศัพท์ทางนาฏศิลป์ไทย ความหมายของนาฏยศัพท์           นาฏยศัพท์หมายถึ งศัพท์เฉพาะในทางนาฏศิลป์  เป็นชื่อของลักษณะท่ารำของไทยนาฏยศัพท์ที่ใช้กันเกี่ยวกับท่ารำไทยนั้น มีมาก  ถ้าแยกตามลักษณะของการใช้จะแบ่งออกเป็น  3  หมวดคือ 1.               หมวดนามศัพท์    ได้แก่ 1.1  วง  -  วงบน    วงล่าง   วงหน้า   วงกลาง   และวงพิเศษ 1.2  จีบ  -  จีบหงาย  จีบคว่ำ  จีบปรกหน้า  จีบปกข้าง  จีบหลัง  และจีบชายพก 1.3  การใช้เท้า  -   ยกเท้า  รวมเท้า  เหลื่อมเท้า  กระดกหลัง  กระดกเสี้ยว  และก้าวหน้า         ( ก้าวหน้า  ...

ประวัติท่ารำเพลงสี่บท(พระทอง)

รูปภาพ
ประวัติท่ารำเพลงสี่บท(พระทอง)  ระบำสี่บทเป็นระบำที่ยกย่องกันมาแต่โบราณ สันนิฐานว่ามีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัยแต่ไม่มีหลักฐานปรากฏเด่นชัด แต่ละบทนั้นจะมีทำนองเพลงและการขับร้องที่แตกต่างกันออกไป  ผู้แสดงจะรำไปตามทำนองเพลง และแสดงกิริยาท่าทางตามบทร้องที่ปรากฏอยู่ในแต่ละเพลง  เหตุที่เรียนระบำชุดนี้ว่าระบำสี่บท ก็เนื่องจากมีบทร้องทั้งหมด 4 บทด้วยกัน และมีทำนองเพลงแตกต่างกัน 4 เพลง  ระบำสี่บทเป็นระบำมาตรฐานซึ่งประกอบด้วยบทร้องและทำนอง ได้แก่    พระทอง    เบ้าหลุด    สระบุหร่ง   บลิ่ม                       รวมเรียกว่า “ระบำสี่บท” ระบำชุดนี้ยกย่องกันว่าเป็นระบำแบบฉบับ เรียกว่า“ระบำใหญ่” มักจะนำไปประกอบการแสดงโขน เช่น ระบำเทพบุตรนางฟ้าในตอนต้นของชุด “นารายณ์ปราบนนทุก” หรือชุด “เมขลา –รามสูร” หรือในตอนแสดงความยินดีเมื่อผู้ทรงฤทธิ์ได้ปราบอสูรและยักษ์ร้ายพ่ายแพ้ไป การแต่งกายระบำสี่บท     ก...

เทคโนโลยีเครื่องพิมพ์ที่ลบแล้วพิมพ์ซ้ำได้

รูปภาพ
เทคโนโลยีเครื่องพิมพ์ที่ลบแล้วพิมพ์ซ้ำได้

วิธีทำขนมทองหยอด

รูปภาพ
วิธีทำขนมทองหยอด ส่วนผสม ไข่เป็ด 7 ฟอง ไข่ไก่ 5 ฟอง แป้งข้าวเจ้า 60 g น้ำตาลทราย 1,000 g น้ำสะอาด 1,000 g กลิ่นมะลิ 1 ช้อนชา น้ำเชื่อม สำหรับแช่ขนม ( น้ำตาล 1/2 กิโล กับน้ำ 800 ml ) วิธีทำ เตรียมชามผสม ตอกไข่ไก่และไข่เป็ด  แยกเอาไข่แดงอย่างเดียว การแยกไข่แดง คือดึงเมือก ดึงสะดือไข่ออกให้หมด แล้วเอามากรองด้วยผ้าขาวบาง ให้ได้ไข่แดงที่เนียนดี พอกรองไข่แล้ว ก็ตีไข่ให้ฟู โดยใช้ตะกร้อมือหรือตะกร้อไฟฟ้าก็ได้ค่ะ ตีให้ไข่ขึ้นฟู ออกสีนวนๆ เนียนๆดี แล้วค่อยๆ เติมแป้งข้าวเจ้า ( ร่อนด้วยตะแกรงด้วยนะค่ะ ) แล้วใช้พายตะล่อมแป้งให้เข้ากัน แล้วเทใส่ถ้วยแบ่งเอาไว้ เวลาหยอดจะสะดวกกว่าชามอันใหญ่ค่ะ ต้มน้ำสะอาดให้เดือด ใส่น้ำตาลทราย แล้วรอให้เดือด ถ้าเป็นน้ำเชื่อมที่ทำใหม่จะเป็นฟองยากนะค่ะ ควรนำน้ำเชื่อมเก่าจากการขนมครั้งที่แล้วมาผสมด้วยจะทำให้เดือดฟูง่ายขึ้นค่ะ โดยจะทำน้ำเชื่อมสองหม้อ หม้อแรกจะพักไว้ให้เย็นก่อน(เป็นน้ำเชื่อมหล่อเย็น ) เพื่อเอาไว้หล่อขนมทองหยอดค่ะ ส่วนอีกหนึ่งหม้อจะตั้งบนเตาเพื่อต้มให้ขนมทองหยอดสุก และใส่กลิ่นมะลิทั้งสองหม้อเพื่อให้ขนมหอม และไม่คาวไข่ค่ะ ...