ติดต่อ รับลิงก์ Facebook X Pinterest อีเมล แอปอื่นๆ ติดต่อ อนันตญา ศรีชัยนาท (ใบตอง) มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา คณะครุศาสตร์ สาขานาฏยศิลป์ศึกษาค.บ.5ปี FB:Anantaya Srichainat รับลิงก์ Facebook X Pinterest อีเมล แอปอื่นๆ ความคิดเห็น
ประวัติท่ารำเพลงสี่บท(พระทอง) ประวัติท่ารำเพลงสี่บท(พระทอง) ระบำสี่บทเป็นระบำที่ยกย่องกันมาแต่โบราณ สันนิฐานว่ามีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัยแต่ไม่มีหลักฐานปรากฏเด่นชัด แต่ละบทนั้นจะมีทำนองเพลงและการขับร้องที่แตกต่างกันออกไป ผู้แสดงจะรำไปตามทำนองเพลง และแสดงกิริยาท่าทางตามบทร้องที่ปรากฏอยู่ในแต่ละเพลง เหตุที่เรียนระบำชุดนี้ว่าระบำสี่บท ก็เนื่องจากมีบทร้องทั้งหมด 4 บทด้วยกัน และมีทำนองเพลงแตกต่างกัน 4 เพลง ระบำสี่บทเป็นระบำมาตรฐานซึ่งประกอบด้วยบทร้องและทำนอง ได้แก่ พระทอง เบ้าหลุด สระบุหร่ง บลิ่ม รวมเรียกว่า “ระบำสี่บท” ระบำชุดนี้ยกย่องกันว่าเป็นระบำแบบฉบับ เรียกว่า“ระบำใหญ่” มักจะนำไปประกอบการแสดงโขน เช่น ระบำเทพบุตรนางฟ้าในตอนต้นของชุด “นารายณ์ปราบนนทุก” หรือชุด “เมขลา –รามสูร” หรือในตอนแสดงความยินดีเมื่อผู้ทรงฤทธิ์ได้ปราบอสูรและยักษ์ร้ายพ่ายแพ้ไป การแต่งกายระบำสี่บท ก... อ่านเพิ่มเติม
นาฏยศัพท์ทางนาฏศิลป์ไทย นาฏยศัพท์ทางนาฏศิลป์ไทย ความหมายของนาฏยศัพท์ นาฏยศัพท์หมายถึ งศัพท์เฉพาะในทางนาฏศิลป์ เป็นชื่อของลักษณะท่ารำของไทยนาฏยศัพท์ที่ใช้กันเกี่ยวกับท่ารำไทยนั้น มีมาก ถ้าแยกตามลักษณะของการใช้จะแบ่งออกเป็น 3 หมวดคือ 1. หมวดนามศัพท์ ได้แก่ 1.1 วง - วงบน วงล่าง วงหน้า วงกลาง และวงพิเศษ 1.2 จีบ - จีบหงาย จีบคว่ำ จีบปรกหน้า จีบปกข้าง จีบหลัง และจีบชายพก 1.3 การใช้เท้า - ยกเท้า รวมเท้า เหลื่อมเท้า กระดกหลัง กระดกเสี้ยว และก้าวหน้า ( ก้าวหน้า ... อ่านเพิ่มเติม
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น